สื่อเพื่อการเรียนรู้


  • Climate change หรือสภาวะโลกรวน ที่เกิดจากการ GHG emission หรือก๊าซเรือนกระจก โดยแนวทางการจัดการที่ทั่วโลกต่างให้ความสนใจจึงเป็นเรื่องการจัดการ การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจก หรือที่รู้จักกันในชื่อ Carbon footprint โดยแนวทางการจัดการมีด้วยกันอยู่ 3 เส้นทางคือ
    1) การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (CFO-Carbon footprint for the organization) หรือ ISO 14064-1
    2) การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (CFP-Carbo footprint of product) หรือ ISO 14067
    3) การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของโครงการ ( T-VER) หรือ ISO 14064-2

  • ตอนการบริหารความเสี่ยงในองค์กร (Risk Management)

  • ISO 9001:2015 ได้ประกาศการเปลี่ยนแปลง เมื่อช่วงต้นปี 2024 และให้มีผลบังคับใช้ทันทีตั้งแต่ปลายกุมภาพพันธ์ 2024 ส่งผลให้ ทุกองค์กรที่ได้รับการรับรองและกำลังจะขอการรับรอง
    * ต้องมีการประเมินปัจจัยภายนอก/ภายในกัน
    * ต้องมีการระบุความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
    ถึงประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change)
    การประเมินผลกระทบข้อกำหนดอื่นๆ จึงต้องได้รับการพิจารณา ทบทวน ว่าจะมีผลกระทบกับองค์กรมากน้อยเพืยงใด และต้องดำเนินการเปลี่ยนแปลงระบบอะไรกันบ้าง

  • สรุปประเด็นการเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2015 ที่ได้มีการประกาศเปลี่ยนแปลง แก้ไขข้อกำหนดอย่างเป็นทางการเป็น ISO 14001:2015 AMD 1:2024 -Climate Action Change...
    มีข้อสงสัยในการจัดทำระบบมาตรฐานการจัดการในองค์กร อาทิเช่น
    ISO 9001:2015, ISO 14001:2015, ISO 45001:2018, IATF 16949:2016, ISO 27001:2022, ISO 14064-1:2018

  • ข้อกำหนดข้อ5 ภาวะผู้นำ
    5.1ความเป็นผู้นำและความมุ่งมั่นของผู้บริหารสูงสุด
    5.1.1 ความมุ่งมั่น (บัญญัติ 10ประการของผู้นำ)
    5.1.2 การมุ่งเน้นที่ลูกค้า
    5.2 นโยบายคุณภาพ
    5.3 บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในองค์กร

  • ข้อ6 การวางแผน
    6.1 การดำเนินการกับความเสี่ยงและโอกาส
    6.2 วัตถุประสงค์คุณภาพ

  • ข้อกำหนด ISO9001:2015 ข้อ 7 การสนับสนุน
    7.1 ทรัพยากร
    7.1.1 ทั่วไป
    7.1.2 บุคลากร
    7.1.3 โครงสร้างพื้นฐาน
    7.1.4 สภาพแวดล้อมสำหรับการปฏิบัติการ
    7.1.5 ทรัพยากรเพื่อการวัดและเฝ้าระวังติดตาม
    ึ7.2 ทักษะ ความสามารถ
    ึ7.3 ความตระหนัก
    7.4 การสื่อสาร
    7.5 เอกสาร ข้อมูล สารสนเทศ
    7.5.1 ทั่วไป
    7.5.2 การจัดทำและทำให้ทันสมัย
    7.5.3 การควบคุม ข้อมูล เอกสาร

  • ตีความข้อกำหนดISO9001:2015แบบย่อ
    ข้อ 8 การดำเนินการ
    8.1 การวางแผนและการควบคุมกระบวนการ
    8.2 ข้อกำหนดผลิตภัณฑ์และบริการ
    8.2.1 การสื่อสารกับลูกค้า
    8.2.2 การทำให้สอดคล้องกับข้อกล่าวอ้าง
    8.2.3 การทวนสอบความเกี่ยวข้องกับสินค้า และบริการ
    8.2.4 การเปลี่ยนข้อกำหนดสำหรับผลิตภัณฑ์และบริการ
    8.3 การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ
    8.3.1 กระบวนการออกแบบและพัฒนา
    8.3.2 การวางแผนการออกแบบและพัฒนา
    8.3.3 ปัจจัยป้อนเข้าการออกแบบและพัฒนา
    8.3.4 การควบคุมการออกแบบและพัฒนา
    8.3.5 ผลการออกแบบและการพัฒนา
    8.3.6 การเปลี่ยนแปลงการออกแบบและพัฒนา
    8.4 การควบคุมผลิตภัณฑ์และบริการจากภายนอก
    8.4.1 การกำหนดการควบคุมผลิตภัณฑ์และบริการจากภายนอก
    8.4.2 ชนิดและขอบเขตของการควบคุมภายนอก
    8.4.3 ข้อมูลสำหรับผู้ให้บริการภายนอก
    8.5 การผลิตและการให้บริการ
    8.5.1 การควบคุมการผลิตและการให้บริการ
    8.5.2 การชี้บ่งและการสอบกลับ
    8.5.3 ทรัพย์สินที่เป็นของลูกค้าหรือผู้ให้บริการภายนอก
    8.5.4 การเก็บรักษา
    8.5.5 กิจกรรมหลังการส่งมอบ
    8.5.6 ควบคุมเปลี่ยนแปลง
    8.6 การตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์และบริการ
    8.7 การควบคุมผลลัพธ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
    8.7.1 การดำเนินการผลลัพธ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
    8.7.2 หลักฐานการดำเนินการ ผลลัพธ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด

  • การตีความข้อกำหนด ISO9001:2015 ข้อ 9 การประเมินสมรรถนะ
    9.1 การเฝ้าระวังติดตาม การวัด การวิเคราะห์ และการประเมิน
    9.1.1 ทั่วไป
    9.1.2 ความพึงพอใจลูกค้า
    9.1.3 การวิเคราะห์และการประเมินผล
    9.2 การติดตามภายใน
    9.2.1 ทั่วไป
    9.2.2 การกำหนดกิจกรรมตรวจติดตามภายใน
    9.3 การทบทวนฝ่ายบริหาร
    9.3.1 ทั่วไป
    9.3.2 ปัจจัยป้อนเข้าในการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร
    9.3.3 ผลการทบทวนฝ่ายบริหาร

  • 10.1 ทั่วไป
    10.2 สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดและกิจกรรมการแก้ไข
    10.3 การปรับปรุง

  • 1.ISO9001:2015คือพื้นฐานที่สำคัญของIATF16949:2016
    2.IATF16949:2016ได้รับการรับรองได้แม้ยังไม่มีISO9001:2015
    3.IATF16949:2169 ต้องประยุกต์ใช้ Core tools
    4.Core tools =APQP+PPAP+FMEA+SPC+MSA
    5.IATF16949:2016มีเพื่ออุตสาหกรรมยานยนต์เท่านั้น
    6.ต้องมีการผลิตจริงจึงจะขอการรับรอง IATF16949:2016
    7.ต้อง Internal audit ครบจึงจะรับรอง IATF16949:2016
    8.ต้อง Management review ก่อนจึงจะรับรอง IATF16949:2016
    9.เอกสารต้องครอบคลุมทุกสาขาที่เกี่ยวข้อง
    10.ข้อมูลต้องมีอย่างน้อย 12เดือน จึงจะรับรอง IATF16949:2016

  • ความเคลื่อนไหวล่าสุดของ ISO9001:2015
    เนื่องจากผลกระทบจาก โควิด-19 ทำให้แผนการปรับเปลี่ยนล่าช้าไปกว่ากำหนดเดิมล่าสุดปลายปี 2020 ล่าสุดได้ ปิดรับการทบทวน และอยู่ในช่วงสรุปแก้ไขเอกสาร

  • อยากได้การรับรองระบบ ISO9001:2015 ต้องทำอะไรบ้าง ?

  • QMR-Quality Management Representative-ตัวแทนฝ่ายบริหารด้านการจัดการระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015
    มีหน้าที่ กำหนด และกำกับ ดูแล ผลักดัน ให้การปฏิบัติงานต่างๆ ของแต่ละหน่วยงานภายในองค์กร ดำเนินไปอย่างสอดคล้องกับระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001และคอยประสานงานความความร่วมมือกับ หน่วยงานตรวจรับรอง
    ดังนั้น จำเป็นที่ต้องมี ผู้รับชอบดูแลที่ มีความรู้ความเข้าใจและมีประสบการณ์ในการบริหารงานระบบ ISO เป็นอย่างดี จึงจะสามารถขับเคลื่อนให้การทำระบบISO 9001:2015 ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

  • How to การคำนวณหาค่า MTTR MTBF
    อะไรคือ MTTR MTBF ?
    ความสัมพันธ์ของค่า MTTR และ MTBF
    นิยามความหมายของ MTTR และ MTBF
    ตัวอย่างการคำนวณ MTTR และ MTBF
    การประยุกต์ใช้ กำหนดดัชนี ชี้วัด

  • 10ขั้นตอนสำหรับองค์กรที่ต้องการสร้างมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐาน ISO 14001:2015 ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั้งพร้อมสำหรับการรับรอง

ชื่อผู้ตอบ:

Visitors: 109,907